ภาวะหลอดลมตีบจากการออกกำลังกาย
ในช่วงกีฬาโอลิมปิกนี้ทางสถาบันภูมิแพ้และหอบหืด ให้ความสำคัญของการออกกำลังกายที่ช่วยเพิ่มเสริมระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งแรงและมีประโยชน์อย่างมากในโรคหอบหืดภูมิแพ้ อย่างไรก็ตามการออกกำลังกายสามารถกระตุ้นให้เกิดอาการหายใจขัดได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะบางอย่าง อาจมีอาการรู้สึกหายใจไม่สุดหลังการออกกำลังกาย ภาวะ exercise-induced bronchoconstriction เกิดได้อย่างไร
สาเหตุยังไม่แน่ชัด สันนิษฐานว่าเกิดทฤษฎี "ออสโมติก" คือ การหายใจที่เพิ่มขึ้นในระหว่างออก ทำให้ลมที่เข้าในทางเดินหายใจอย่างรวดเร็ว อุณหภูมิที่พื้นผิวหลอดลมลดต่ำลง เมื่อหยุดออกกำลังกายอุณหภูมิที่ทางเดินหายใจกลับเพิ่มขึ้น ทำให้เยื่อบุผิวหลอดลมเสียน้ำออกไปเป็นผลให้ความเข้มข้นออสโมติกในเซลล์เพิ่มมากขึ้น ความเปลี่ยนแปลงนี้ กระตุ้นให้เซลล์เม็ดเลือดขาว หลั่งสารอักเสบ ต่างๆ ส่งผลเกิดกล้ามเนื้อเรียบรอบหลอดลมหดตัวลง หลอดลมตีบแคบลง เกิดอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่สุด หลังออกกำลังกายภายในนาทีถึงชั่วโมงเมื่อใดสงสัยภาวะ หลอดลมตีบจากการออกกำลังกาย
อาการมักเกิดหลังออกกำลังกาย ไม่กี่นาทีถึงชั่วโมง หายใจออกไม่สุด แน่นหน้าอก หรือบางรายอาจมีเสียงวี๊ซ เมื่อใช้ยาพ่นขยายหลอดลมจะอาการดีขึ้น
การดูแลรักษา
-หากมีอาการหอบหืดควรมีอาการให้ยาพ่นลดการอักเสบ inhaled corticosteroids ควบคุมอาการให้เหมาะสม
-แนะนำมีการ Warm up และ cool down เสมอ
-พยายามลดสิ่งกระตุ้น เช่น คลอรีนในสระว่ายน้ำ การสวมใส่หน้ากากป้องกัน หลีกเลี่ยงสภาพแวดล้อมที่มีฝุ่นหรือสารแพ้มาก
-ใช้ ยาพ่น short-acting β2-agonist เช่น ก่อนออกกำลัง 5-10 นาที
-แนะนำพบแพทย์ พิจารณาตรวจสมรรถภาพปอดหรือภาวะหลอดลมไว หากมีอาการผิดปกติ
เครดิตแหล่งข้อมูล : bnhhospital
สาเหตุยังไม่แน่ชัด สันนิษฐานว่าเกิดทฤษฎี "ออสโมติก" คือ การหายใจที่เพิ่มขึ้นในระหว่างออก ทำให้ลมที่เข้าในทางเดินหายใจอย่างรวดเร็ว อุณหภูมิที่พื้นผิวหลอดลมลดต่ำลง เมื่อหยุดออกกำลังกายอุณหภูมิที่ทางเดินหายใจกลับเพิ่มขึ้น ทำให้เยื่อบุผิวหลอดลมเสียน้ำออกไปเป็นผลให้ความเข้มข้นออสโมติกในเซลล์เพิ่มมากขึ้น ความเปลี่ยนแปลงนี้ กระตุ้นให้เซลล์เม็ดเลือดขาว หลั่งสารอักเสบ ต่างๆ ส่งผลเกิดกล้ามเนื้อเรียบรอบหลอดลมหดตัวลง หลอดลมตีบแคบลง เกิดอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่สุด หลังออกกำลังกายภายในนาทีถึงชั่วโมงเมื่อใดสงสัยภาวะ หลอดลมตีบจากการออกกำลังกาย
อาการมักเกิดหลังออกกำลังกาย ไม่กี่นาทีถึงชั่วโมง หายใจออกไม่สุด แน่นหน้าอก หรือบางรายอาจมีเสียงวี๊ซ เมื่อใช้ยาพ่นขยายหลอดลมจะอาการดีขึ้น
การดูแลรักษา
-หากมีอาการหอบหืดควรมีอาการให้ยาพ่นลดการอักเสบ inhaled corticosteroids ควบคุมอาการให้เหมาะสม
-แนะนำมีการ Warm up และ cool down เสมอ
-พยายามลดสิ่งกระตุ้น เช่น คลอรีนในสระว่ายน้ำ การสวมใส่หน้ากากป้องกัน หลีกเลี่ยงสภาพแวดล้อมที่มีฝุ่นหรือสารแพ้มาก
-ใช้ ยาพ่น short-acting β2-agonist เช่น ก่อนออกกำลัง 5-10 นาที
-แนะนำพบแพทย์ พิจารณาตรวจสมรรถภาพปอดหรือภาวะหลอดลมไว หากมีอาการผิดปกติ
เครดิตแหล่งข้อมูล : bnhhospital
เครดิต :
ข่าวดารา ข่าวในกระแส บน Facebook อัพเดตไว เร็วทันใจ คลิกที่นี่!!